dot dot
เบอร์โทรติดต่อเสียงไพศาล สำนักงานใหญ่
dot
ค้นหาสินค้า เครื่องเสียงกลางแจ้ง เครื่องเสียง PA


  [Help]
dot
dot
หมวดเครื่องเสียง PA เครื่องเสียงกลางแจ้ง
dot
bulletPROMOTION
bulletสินค้ามือสอง
bulletเครื่องเสียงจัดชุด
dot
POWER AMP พาวเวอร์แอมป์ เพาเวอร์แอมป์
dot
bulletเพาเวอร์ PA
bulletเพาเวอร์ LINE
bulletเครื่องขยายเสียง
bulletขยาย AC-DC
bulletขยายติดห้องเรียน
bulletแอมป์คาราโอเกะ
dot
MIXER มิกเซอร์ เครื่องผสมสัญญาณเสียง
dot
bulletอนาล็อก มิกเซอร์
bulletดิจิตอล มิกเซอร์
bulletเพาเวอร์ มิกเซอร์
bulletสเตจบ๊อก Stage Box
bulletอุปกรณ์มิกเซอร์
dot
PROCESSOR โปรเซสเซอร์ เครื่องปรับแต่งเสียง
dot
bulletอีควอไลเซอร์
bulletครอสโอเวอร์
bulletคอมเพรสเซอร์
bulletดิจิตอลสปิกเกอร์
bulletเอฟแฟ็ก
bulletปรีแอมป์
bulletกล่องปลั้กไฟติดแร็ค
bulletสปิตเตอร์-มิกเซอร์
bulletเครื่องป้องกันไมค์หวีด
bulletเครื่องบันทึกและเล่นเสียง
bulletเครื่องเลือกโซนประกาศ
bulletเครื่องปรับเพิ่ม-ลดเสียง
bulletเครื่องรับส่งสัญญาณไร้สาย
bulletระบบกระจายเสียงไร้สาย
dot
LOUNDSPEAKER ตู้ลำโพง
dot
bulletตู้ลำโพง 2 Way
bulletตู้ลำโพง PVC
bulletตู้ลำโพง ACTIVE
bulletตู้ลำโพง SUB BASS
bulletตู้ลำโพง LINE ARRAY
bulletตู้ลำโพง MONITOR
bulletตู้ลำโพง COLUMN
bulletตู้ลำโพง CEILING
bulletตู้ลำโพง KARAOKE
bulletตู้ลำโพง STUDIO
bulletตู้ลำโพง SoundBar
bulletตู้ลำโพงอเนกประสงค์
bulletตู้ลำโพงติดสนาม
bulletตู้ลำโพงเปล่า
bulletพาวเวอร์โมดูล
bulletอุปกรณ์ตู้ลำโพง
dot
PORTABLE เครื่องช่วยสอน เครื่องขยายเสียง
dot
bulletโทรโข่ง
bulletเครื่องช่วยสอน
bulletตู้ลำโพงมีภาคขยายเสียง
bulletชุดลำโพงขยาย 2.0 CH
bulletชุดตู้ลำโพงคอลัมน์
bulletตู้ลำโพงบูลทูธ
bulletโพเดียม แท่นบรรยาย
dot
MICROPHONE ไมค์โครโพน ไมค์สาย
dot
bulletไมค์สาย
bulletไมค์ตั้งโต๊ะ
bulletไมค์สตูดิโอ
bulletไมค์เครื่องดนตรี
bulletUSB Microphone
bulletRTA Microphone
bulletBroadcast
bulletอุปกรณ์ไมค์
dot
MICROPHONE WIRELESS ไมค์ลอย ไมค์ไร้สาย ไมค์ถือ
dot
bulletไมค์ลอยถือ
bulletไมค์หนีบปก
bulletไมค์คาดศรีษะ
bulletไมค์หนีบปก+คาดศรีษะ
bulletไมค์ถือ+หนีบปก+คาดศรีษะ
bulletไวเลสอินเอียร์
bulletไวเลสบูทเตอร์
bulletอุปกรณ์ไมค์ลอย
dot
CONFERENCE MICROPHONE ไมค์ประชุม ชุดประชุม ชุดผู้ร่วมประชุม
dot
bulletไมค์ประชุม อนาล๊อก
bulletไมค์ประชุม ดิจิตอล
bulletไมค์ประชุม ไร้สาย
bulletอุปกรณ์ไมค์ประชุม
dot
CAR AMPIFIER เครื่ิองขยายรถยนต์ ขยายรถแห่ ขยายติดรถยนต์
dot
bulletขยายตัวเล็ก
bulletขยายรถยนต์
bulletขยายรถมอเตอร์ไซค์
dot
ขายดอกลำโพง ไดเวอร์ ยูนิตฮอนด์ ปากฮอนด์ เนตเวิร์คลำโพง อุปกรณ์ตู้ลำโพง
dot
bulletดอกลำโพง
bulletไดเวอร์ยูนิต
bulletยูนิตฮอนด์
bulletปากไดเวอร์
bulletปากฮอนด์
bulletปากฮอนด์สำเร็จ
bulletเนตเวิร์คลำโพง
bulletไซเรน
bulletอุปกรณ์ลำโพง-ยูนิตฮอนด์
dot
RACK CASE
dot
bulletแร็ค ABS
bulletแร็ค ABS ใส่ไมค์
bulletแร็ค ABS ใส่มิกซ์
bulletแร็คไม้ผิว PVC
bulletแร็คไม้ผิว อลูมิเนียม
bulletแร็คเครื่องเสียง
bulletแร็คสั่งทำพิเศษ
bulletCaseBox กล่อง
bulletPanel เพลทติดแร็ค
bulletลิ้นชักตู้แร็ค-ถาดรองเครื่อง
bulletอุปกรณ์ประกอบตู้แร็ค
dot
HEADPHONE หูฟัง หูฟังดีเจ หูฟังห้องบันทึกเสียง
dot
bulletหูฟัง HEADPHONE
bulletHeandheld Recorder
bulletTuner/CD Player
dot
Globa Truss,Truss Aluminium,โครงทรัส
dot
bulletAluminium Truss
bulletTower System
bulletStage เวที
bulletโต๊ะวางมิกซ์
bulletบูทแสดงสินค้า
bulletนั่งร้านเหล็ก
bulletรอกโซ่ไฟฟ้า
bulletอุปกรณ์เซฟตี้
dot
Power Supply แหล่งจ่ายไฟ หม้อเพิ่มไฟ สเต็ป หม้อแปลง อินวอเตอร์ สเตบิไลเซอร์ พาวเวอร์ซับพลาย UPS
dot
bulletUPS เครื่องสำรองไฟ
bulletLoad Center ตู้โหลด
bulletStap Up หม้อเพิ่มไฟ
bulletStap Down หม้อแปลง
bulletStabilazer รักษาแรงดัน
bulletInverter อินเวอร์เตอร์
bulletCharger เครื่องชาร์ทแบ็ต
bulletDimmer ดิมเมอร์หรี่ไฟ
bulletProtection ไฟตกตัด
bulletAC-DC Adaptor แปลงไฟ
bulletDC-DC Converter แปลงไฟ
dot
ACCESSORIES อุปกรณ์เครื่องเสียง สายไมค์ โวลท์มิเตอร์ โลเก็บสายไฟ
dot
bulletElectric
bulletPlug-Jack
bulletConnectors
bulletCable Teater
bulletCable สายสัญญาณ
bulletCable สายสำเร็จรูป
bulletดิจิตอลโวลท์มิเตอร์
bulletขาแขวนทีวี
bulletชั้นวางทีวี
bulletโลเก็บสาย-กล่องเก็บสาย
bulletอุปกรณ์สายเคเบิ้ล
dot
LIGHTING,ไลค์ติ้งไฟฟาร์,ไฟบีม,มูบวิ่งเฮด
dot
bulletไฟประดับ
bulletไฟพาร์ LED
bulletไฟโมเฟ่ Mofe
bulletเลเซอร์ Laser
bulletสโตป Strobe
bulletมูฟวิ่ง Moving
bulletสโม๊ค Smoke
bulletเครื่องทำฟอง Bubble
bulletลูกโลก MirrorBall
bulletบอร์ดคอลโทรล DMX
bulletWireless DMX
bulletDimmer Pack
bulletอะไหล่ไฟพาร์-บีม
dot
INSTRUMENT เครื่องดนตรี อุปกรณ์เครื่องดนตรี
dot
bulletAudio Interface
bulletEffect Guitar
bulletMIDI Controller
bulletDI BOX ไดเร็กบ็อกซ์
bulletกลองชุดไฟฟ้า
bulletตู้แอมป์เบส
bulletตู้แอมป์กีตาร์
bulletอุปกรณ์งานดนตรี
dot
อุปกรณ์ดีเจ มิกเซอร์ดีเจDJ Equipment
dot
bulletDJ Controllers
bulletDJ Players
bulletDJ Mixers
bulletTurntable
bulletAll in one DJ System
dot
โปรเจคเตอร์ วิชวลไลเซอร์ Projector Visualizer
dot
bulletโปรเจคเตอร์
bulletวิชวลไลเซอร์
bulleti-Board กระดานอัจฉริยะ
bulletอุปกรณ์โปรเจคเตอร์
dot
gedget เสียงไพศาล สุรินทร์ เครื่องเสียง เครื่องใช้ไฟฟ้า
dot
bulletCar DVR
bulletSports Camara
bulletGPS Tracker
dot
ตะกร้าสินค้า
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00บาท
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
dot
รวมลิงค์เพื่อนบ้าน
dot
บริษัท เวิร์คโซโลชั่น จำกัด (Work Solution Thailand co.,Ltd)
LED Display ให้เช่า
ที่พักดีๆจ.สุรินทร์ โรงแรมสลีฟ บริการห้องพัก ใจกลางเมืองสุรินทร์ สะอาด สะดวก สบาย ปลอดภัย
บ.เสียงไพศาลตัวแทนจำหน่ายสินค้าบ.เอ็นจิเนียร์อิเล็กทรอนิคส์
bulletอะไหล่เครื่องซักผ้า
bulletอะไหล่ไมโครเวฟ
bulletอะไหล่พัดลม
bulletอะไหล่กระติกน้ำร้อน
bulletอะไหล่แอร์
bulletอะไหล่ตู้เย็น
bulletรถไฟฟ้า


เฟสบุ๊คเสียงไพศาล
ตรวจสอบสถานะสินค้า SCG Express แมวดำ เลขแทรกกิ้ง
ติดตามสถานะสินค้า นิ่มขนส่ง Nim Express เลขแทรกกิ้ง
ตรวจสอบสถานะสินค้า เคอรรี่ KERRY Express เลขแทรกกิ้ง
ตรวจสอบสถานะ EMS และไปรษณีย์ลงทะเบียน


ปุ่มต่างๆบนมิกซ์เซอร์

 ปุ่มต่างๆบนมิกเซอร์


-อินพุทแจ๊ค (Input Jacks)
     ทำหน้าที่รับสัญญาณจากไมโครโฟน หรือจากเครื่องดนตรีต่างๆ ที่เป็นไลน์ (line) ตำแหน่งมักอยู่ด้านบนสุดของเมิกเซอร์ลักษณะของเต้ารับสัญญาณ (jack) จะมีอยู่สามแบบคือ RCA (-10dB) , 1/4 นิ้ว (balance & unbalance) และ XLR การใช้เต้ารับสัญญาณนั้นขึ้นอยู่กับราคาของเครื่องมิกเซอร์นั้นหากมีราคาแพง เต้ารับสัญญาณจะเป็นแบบ XLR ส่วนมิกเซอร์แบบกึ่งโปรจะใช้เต้าแบบ RCA และขั้วต่อแบบ TS 1/4  นิ้ว

-แฟนทอม (Phantom)
     ทำหน้าที่จ่ายไฟให้กับไมโครโฟนที่เป็นแบบ คอนเดนเซอร์ ไฟที่ออกมาจะเป็นไฟแบบดีศี (DC) ซึ่งมีแรงดันระหว่าง 12-48 โวลต์

-เฟส (Phase)
     ทำหน้าที่ปรับแก้ไขเฟสที่ไม่ถูกต้องที่อาจเกิดจากการต่อขั้วสายที่ผิดพลาด หรือจากการวางไมค์หลายๆตัวที่อาจก่อให้เกิดการกลับเฟส (มักเกิดจากการวางไมค์มากกว่าสองตัวขึ้นไป)  ให้คืนอยู่ในสภาพปกติ สวิทช์เฟสนี้จะพบในเฉพาะมิกเซอร์ราคาแพงเท่านั้น ซึ่งใช้สัญลักษณ์(ø)

-แพด (Pad)
     จะพบสวิทช์นี้ในมิกเวอร์ที่มีราคาแพงขึ้นมา ทำหน้าที่ลดความแรงของสัญญาณที่เข้ามาลง -20dB และในมิกเซอร์บางยี่ห้อจะใช้คำว่า MIC ATT (microphone attenuation) ซึ่งทำหน้าที่เหมือนกัน

-สวิทช์เลือกไมค์,ไลน์,เทปอินพุท (Mic/Line/Tape Input Select)
     ทำหน้าที่เป็นตัวเลือกแหล่งสัญญาณที่เข้ามาเพื่อให้ความเหมาะสมของระดับ สัญญาณ ก่อนที่จะป้อนเข้าสู่ภาคปรีแอมป์ในมิกเซอร์ โดยไม่ก่อให้เกิดความผิดเพี้ยนของระดับสัญญาณ

-เกน (Gain) หรือ อินพุททริม (Input Trim)
     ทำหน้าที่ปรับแต่งความแรงของสัญญาณที่เข้ามาหลังจากภาครับ (input) เพื่อเร่งหรือลดความแรงสัญญาณที่เข้ามาให้เหมาะสมต่อภาคปรีแอมป์ (pre-amp) มากที่สุด แลพเพื่อเลี่ยงการเกิดอาการแตกพร่า (distortion) ในขณะใช้งานเราสามารถปรับระดับสัญญาณได้ด้วยการดูที่มิเตอร์ (VU meter)

-พีคมิเตอร์ (Peak Meter)
     ทำหน้าที่คอยเตือนระวังความแรงของสัญญาณที่เข้ามาในแชลเนลนั้นๆ ของมิกเซอร์ input เพื่อไม่ให้มีค่าที่กำหนดไว้โดยไฟจะสว่างขึ้น เมื่อไฟสว่างให้ปรับลดที่เกน (gian)
     วิธีการดูสัญญาณที่ขึ้นพีคนั้นสามารถช่วยให้สามารถเร่งความแรงของสัญญาณที่ เข้ามาได้เต็มขณะที่เราวัดจาก VU meter และทำให้เราทราบได้ว่ามีช่วงไหนของสัญญาณที่มีความแรงสูงสุด

-โลว์พาสฟิลเตอร์ (Lowpass-Filter)
     ทำหน้าที่ตัดสัญญาณความถี่สูงระหว่าง 8-10kHz เพื่อไม่ให้ผ่านไปได้ แต่ยอมให้ความถี่ต่ำผ่านไปได้โดยสะดวก ซึ่งในเครื่องมิกเซอร์ราคาแพงๆสามารถตั้งค่าความถี่สูงที่ต้องการตัดไม่ให้ ผ่านได้อีกด้วย

-ไฮพาสฟิลเตอร์ (Highpass-Filter)
     ทำหน้าที่ตัดสัญญาณเฉพาะย่านความถี่ต่ำประมาณ 80Hz ไม่ให้ผ่านไปได้แต่ยอมให้ความถี่สูงผ่านไปได้ซึ่งในเครื่องมิกเซอร์ราคาแพงๆ สามารถตั้งค่าความถี่สูงที่ต้องการให้ผ่านได้อีกด้วย

-แชลเนลมิว (Channel Mute)
     ทำหน้าที่ปิด-เปิดสัญญาณเฉพาะที่เข้ามาในแต่ล่ะแชนเนลของมิกเซอร์ ประโยชน์ของปุ่มนี้ช่วยให้กำหนดการปิด-เปิด ของสัญญาณในแต่ล่ะช่องที่ได้เป็นอิสระ

-อินเสิดแจ๊ค (Insert Jack)
     ทำหน้าที่เสหมือนสวิทช์ร่วมที่เชื่อมอุปกรณ์จากภายนอกเพื่อให้เข้ามาผสมกับ สัญญาณที่อยู่ในแต่แชนเนลของมิกเซอร์ ทำให้สามารถแยกสัญญาณจากแชนเนลเพื่อส่งไปเข้าเครื่องมือช่วยปรุงเสียงต่าง เช่นคอมเพรสเซอร์ หรือดีเลย์ ได้เป็นอิสระของแต่ล่ะช่องเสียง

-อีควอไลเซอร์ (Equalizer)
     ทำหน้าที่ปรับความถี่ของสัญญาณที่เข้ามาเพื่อปรับแต่งหาความถูกต้องตามที่ ต้องการ เรานิยมเรียกย่อว่า อีคิว(EQ) ลักษณะการทำงานของอีควนั้นจะมีแบบตั้งแต่แบบง่ายๆ สองย่านความถี่คือเสียงสูง (treble) และความถี่ต่ำ (bass) ไปจนถึงแบบละเอียดที่มีครบทุกความถี่ (สูง กลาง ต่ำ) ซึ่งจะเป็นอีคิวแบบที่เรียกว่า พาราเมทริกอีคิว (parametric EQ)

-อีคิวบายพาส (EQ bypass)
     ทำหน้าที่ปิดหรือเปิดในการใช้อีคิวหรือจะไม่ใช้ ทั้งนี้เพื่อการฟังเปรียบเทียบการใช้อีคิวและไม่ใช้ว่า สัญญาณเสียงก่อนใช้อีคิวและหลังใช้จะเป็นอย่างไร

-เฟดเดอร์ (Fader)
     ทำหน้าที่ปรับเพิ่มลดระดับสัญญาณที่เข้าและออกไปจากมิกเซอร์ output เพื่อป้อนเข้าสู่เครื่องบันทึกเทปหรือเครื่องขยายเสียง บางครั้งเรานิยมเรียกกันทั่วไปว่า วอลลุ่ม (volume)

-สตูดิโอเลฟเวล (Studio Level)
     ทำหน้าที่ควบคุมความดังเบาของเสียงที่ส่งออกมาจากมิกเซอร์เพื่อส่งเข้าไป ยังห้องที่บันทึกเสียงเครื่องดนตรีก็คือห้อง Studio นั่นเอง

-คอนโทรลรูมเลฟเวล (Control Room Level)
     ทำหน้าที่ควบคุมความดังเบาของเสียงที่ได้ยินทั้งหมดจากมิเซอร์ สำหรับภายในห้องควบคุมเสียง (control room)

-โซโล (Solo) หรือ PFL
     ทำหน้าที่ตัดสัญญาณในแต่ล่ะช่องเสียงออมาเพื่อการฟังโดยอิสระโดยเราจะได้ ยินเฉพาะช่องเสียงที่เรากดปุ่มโซโลใช้งานอยู่เท่านั้น โดยไม่จำเป็นต้องปิดร่องเสียงอื่นๆเช่น ในขณะที่กำลังฟังเสียงที่เข้ามาในมิกเซอร์สี่ช่องเสียงพร้อมๆกัน และเราต้องการฟังตรวจสอบเสียงจากช่องเสียงที่สองเพียงช่องเดียวเราก็กดปุ่ม โซโลลงไป เราก็จะได้ยินเสียงจากช่องเสียงสองเท่านั้นซึ่งมันจะทำหน้าที่ตัดเสียงแยกใน ช่องเสียงอื่นๆให้เงียบโดยอัตโนมัติ

-โซโลเลฟเวล (Solo Level) หรือ PFL Level
     ทำหน้าที่ควบคุมสัญญาณดังเบาเสียงของโซโลในช่องเสียงต่างๆ บนมิกเซอร์ทั้งหมดว่าให้อยู่ในระดับความดังเบาเท่าไหร่ตามความต้องการของ เฮ้นจิเนียร์เพื่อความสมดุลของเสียงเมื่อกดออก เพื่อฟังรวมกับระดับเสียงปกติ จะได้ไม่ต่างในเรื่องของความดังเบาเสียงมากจนเกินไป

-อ๊อซิเลียอะรี (Auxiliary)
     เรียกย่อๆว่า ออกเซนด์ (aux send) ทำหน้าที่เป็นตัวจ่ายสัญญาณที่เข้ามาในแต่ล่ะช่องเสียงเพื่องส่งออกไปยัง อุปกรณ์ปรุงแต่งเสียงต่างๆ หรือแหล่งรับสัญญาณอื่นๆตามที่เราต้องการ ออกเซนด์ จะมีมาสเตอร์ออก (master aux ) ซึ่งควบคุมความแรงของสัญญาณ AUX ทั้งหมดในทุกช่องเสียงบนมิกเซอร์อีกต่อหนึ่ง

-พรี (Pre)
     หมายถึงสัญญาณที่เข้ามาในแชนเนลเสียงของมิกเซอร์ จะถูกดักออกมาก่อนจะเข้าสู่เฟดเดอร์หลักที่เครือ่งมิกเซอร์ ซึ่งเมื่อดึงเฟดเดอร์หลักลงมาเพื่องลดสัญญาณเสียงลง สัญญาณเสียงก็จะไม่เบาตามไปด้วยแต่กจะไปดังออกที่ภาคพรี (pre) ซึ่งอาจจะพ่วงต่อไปยังเอฟเฟ็คต่างๆ เช่น รีเวอร์บ เป็นต้น ดังนั้นเสียงที่ยังคงได้ยินก็จะเป็นเสียงที่มากจากรีเวิร์บนั่นเอง ผลคือสัญญาณที่เข้ามาจะเป็นอิสระไม่ขึ้นกับเฟดเดอร์หลักทำให้สามารถนำสัญญาณ นั้นๆไปใช้เพื่อผลได้ตามแต่ต้องการ

-โฟสต์ (Post)
     หมายถึงสัญญาณที่เข้ามาในแชนเนลเสียงของมิกเซอร์ จะมีผลดังเบาตามเฟดเดอร์หลัก คือเมื่อเราลดเฟดเดอร์ลงสัญญาณที่เข้ามาก็จะลดลงตามไปด้วย แม้ว่าสัญญาณจะถูกแยกส่งออกไปยังเอฟเฟคอื่นๆก็ตาม

-แพน (Pan)
     ทำหน้าทราเคลื่อนย้ายตำแหน่งสัญญาณให้ไปทางซ้ายหรือขวาและยังทำหน้าที่เป็น ตัวถ่ายโอนสัญญาณร่องเสียง (track) เพื่อป้อนเข้าสู่เครื่องบันทึกเทปอีกด้วย

-กรุ๊ป หรือ บัส (Group or Bus)
     ทำหน้าที่รวมสัญญาณที่เข้ามาจากหลายช่องเสียง (channel) เพื่อรวมสัญญาณให้ออกที่ output เดียวเพื่อส่งต่อไปยังเครื่องขยายเสียงหรือช่องเสียงภายในมิกเซอร์เอง เช่น เราสามารถกรุ๊ป หรือ บัสเสียงของกลุ่มนักร้องประมานเสียงจากหลายๆช่องเสียงบนมิกเซอร์ ให้ออกเป็นช่องเสียงเดียวกันได้ ด้วยการควบคุมเฟดเดอร์เพียงตัวเดียวเพื่อสดวกต่อการควบคุมดังเบาของสัญญาณ เสียงทั้งหมด

-เลือกแทรคเสียง (Track Selected)
     ในมิกเซอร์ที่มีราคาแพงนั้นจะอยู่ด้านบนสุดเป็นส่วนใหญ่ ทำหน้าที่เป็นตัวจ่ายสัญญาณว่าจะให้ออกไปสู่ช่องเสียงใดที่เครื่องบันทึกเทป แบบมัลตีแทรค ซึ่งอาจเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า ไดเร็คแอสไซน์ (direct assign)

-ไดเร็ค เอ๊าพุท (Direct Output)
     ทำหน้าที่ดักสัญญาณที่เข้ามาโดยไม่ผ่านปุ่มต่างๆบนมิกเซอร์ เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนำสัญญาณสดๆนี้ ไปต่อพวกกับอุปกรณ์แต่งเสียง (effects) หรือเครื่องบันทึกเสียงได้โดยตรง ตามแต่วัตถุประสงค์ และในขณะใช้งานฟังชันต่างๆเช่น อีคิว ก็ไม่มีผลต่อสัญญาณต้นฉบับโดยไม่โดนปรุงแต่งเสียก่อน

-เอฟเฟค เซนด์ (Effect Send)
     ทำหน้าที่จ่ายสัญญาณออกมาจากตัวมิกเซอร์ในแต่ล่ะช่องเสียงไปสู่เอฟเฟคต่าง ไเช่น รีเวิร์บ (reverb) หรือดีเลย์ซึ่งมักใช้ปุ่ม aux เป็นตัวส่งสัญญาณ

-เอฟเฟค รีเทอร์น (Effect Return)
     ทำหน้าที่รับสัญญาณที่ผ่านมาจากอุปกรณ์ต่างๆที่ถูกป้อนมาจาก effect send อีกทีหนึ่งเพื่อการได้ยินเสียงที่ส่งออกมาจากเครื่องเอฟเฟค

-สเตอริโอ มาสเตอร์ เฟดเดอร์ (Stero Master Fader)
     มีอยู่สองลักษณะคือแบบ สไลด์โวลุ่ม (slide volume) และแบบหมุน (rotary pot) ทำหน้าที่เป็นปรับความดังเบาของสัญญาณทั้งหมดบนมิกเซอร์ทั้งซ้ายขวาก่อนที่ จะออกไปสู่เครื่องมือต่างๆ

-กรุ๊ปหรือบัสเอาต์พุตเฟดเดอร์ (Group or Buss Out Faders)

     หรือในอีกชื่อหนึ่งว่า ซับกรุ๊ป เฟดเดอร์ (subgroup faders) ควบคุมการส่งออกของสัญญาณที่มาจากกรุ๊ป หรือบัสอินพุทเฟดเดอร์ (buss input fader) โดยจะแยกเป็นสเตอริโอซึ่งทีแพน (pan) ทำหน้าที่ควบคุมการส่งสัญญาณไปทางซ้ายหรือขวา เพื่อให้ผลของการมิกซ์เสียง หรือการจัดตำแหน่งสัญญาณ

-สเตอริโอบัส อินพุท (Stero Buss Input)
     ทำหน้าที่รองรับสัญญาณจากเเหล่งสัญญาณอื่นๆ เพื่อให้สามารถนำสัญญาณมาใช้สัญญาณร่วมกัน เช่นกรณีที่ใช้มิกเซอร์สองตัวโดยตัวแรกใช้สำหรับรองรับสัญญาณจากเครื่อง ดนตรีและเสียงร้อง ส่วนมิกเซอร์ตัวที่สองใช้สำหรับกลุ่มคีย์บอร์ด แต่เราต้องการควบคุมสัญญาณทั้งหมดจากมิกเซอร์ตัวแรก เรามารถทำได้ด้วยการส่งสัญญาณจากมิกเซอร์ในตัวที่สองจากภาคเอาต์พุทสเตอร์ริโอ (outut stero) แล้วต่อเข้าที่สเตอริโอบัส (stereo buss) ที่ว่านี้ในมิกเซอร์ตัวแรกซึ่งจะทำให้สามารถควบคุมความแรงของสัญญาณจาก มิกเซอร์ตัวที่สอง ได้ที่มิกเซอร์ตัวแรกในภาคสเตอริโอบัสของมิกเซอร์ตัวแรก

-ออกซิเลียรี เซนด์ มาสเตอร์ (Auxiliary Send Masters)
     ทำหน้าที่ควบคุมความดังเบาของสัญญาณทั้งหมดที่มาจาก aux จากแต่ล่ะช่องเสียงในมิกเซอร์ หากเราปิด aux send master ถึงแม่เราจะส่งสัญญาณจาก aux ในแต่ละแชนเนลก็จะไม่มีเสียงดัง ในทางตรงข้าม หากเราเพิ่มระดับความแรงของ aux send master ความแรงของสัญญาณจาก aux ในแต่ละช่องเสียงบนมิกเซอร์ก็จะดังทั้งหมด

-ทอร์คแบ็ค (Talk Back)
     ทำหน้าที่ติดต่อสื่อสารกันระหว่างห้องควบคุมและห้องบันทึกเสียง ซึ่งจะมีไมโครโฟนเล็กๆ (condencer mic) ที่อยู่บนมิกเซอร์ทำหน้าที่ติดต่อสื่อสารระหว่างเอ็นจิเนียร์และนักดนตรี

-เฮดโฟน (Headphone Control)
     เฮดโฟนคอนโทรลจะทำหน้าที่เป็นตัวจ่ายสัญญาณจากมิกเซอร์ไปให้หูฟัง

-โทนออสซิเลเทอร์ (Tone Oscillator)
     มักใช้อักษรย่อๆ คือ OSR ทำหน้าทีท่สัญญาณความถี่เสียงสูงกลางต่ำเพื่อใช้สำหรับตรวจสอบและอ้างการทำ งานต่างๆของมิกเซอร์ เช่น วัดตรวจสอบความสมดุลซ้ายขวาของมิกเซอร์ เป็นต้น ส่วนใหญ่จะสร้างความถี่ที่ 40Hz ,400Hz,1kHz,4kHz,10kHz,15kHz




Suggest แนะนำ

LAVOCE สุดยอดดอกลำโพง PA จากอิตาลี
เครื่องปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ จาก CBC
เพาเวอร์แอมป์ระดับไฮเอ็นด์ CYBER Series จาก WARTECH
วีดีโอสาธิตการใช้งานสินค้า SoundBest
ปัญหาเรื่องคลื่นหลุด ไมค์ลอย EUROTECH article
Sound Check ทำไมต้อง SoundCheck
วิธีดูYAMAHAแท้ปลอม article



Copyright © 2020 SEANGPAISAN.CO.,LTD All Rights Reserved.